พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics บทนำการโต้วาทีรูปแบบรัฐสภาเอเชีย - Introduction to Asian Parliamentary Format การโต้วาทีสามารถมีได้หลากหลายรูปแบบ แต่รูปแบบที่เป็นที่นิยมในการแข่งขันระดับประเทศในประเทศไทย ได้แก่ รูปแบบรัฐสภาเอเชีย (Asian Parliamentary Format) ที่พบได้ในการแข่งขัน EU in TH และ THSDC และ รูปแบบโรงเรียนสากล (World’
พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics หน้าที่ของแต่ละฝ่าย - Team Roles หน้าที่ของแต่ละฝ่าย ฝ่ายรัฐบาล สนับสนุนญัตติ (Support the Motion) ให้คำจำกัดความญัตติ (Define the terms in the Motion) ตระหนักถึงปัญหาในญัตติ (Recognize the problem in the motion) นำเสนอวิธีการแก้ไขปั
พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics หน้าที่ของผู้พูด - Speaker Roles นายกรัฐมนตรี - Prime Minister (ผู้พูดลำดับที่ 1 ของฝ่ายรัฐบาล) นายกรัฐมนตรีเป็นผู้พูดคนแรก ฉะนั้นหน้าที่หลักๆ คือการวางโครงสร้างเนื้อหาและทิศทางของการโต้วาทีในรอบนั้นๆว่าจะไปในทิศทางใด และ จะมีสาระครอบคลุมเรื่องใดบ้าง
พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics วิธีการเป็นวิป - How to Whip วิป (Whip) ไม่มีโครงสร้างการพูดที่ตายตัว อย่างไรก็ดีในโครงสร้างรัฐสภาเอเชียวิปของทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านจะไม่มีการเพิ่มเนื้อหาในหัวข้อใหม่ๆ แต่สามารถให้บทวิเคราะห์เพิ่มเติมในหัวข้อที่ได้
พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics วิธีการเลือกญัตติในการแข่งขัน - How to Veto ในการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย แต่ละรอบจะมีการกำหนดหัวข้อ (Theme) มาให้หนึ่งหัวข้อ โดยแต่ละหัวข้อก็จะประกอบไปด้วย 3 ญัตติ ก่อนที่จะทราบหัวข้อ และ ญัตติ แต่และทีมจะรู้ว่าทีมตนนั้นได้