เกร็ดความรู้ - Explainers

แนวคิดต่อต้านสหภาพยุโรป - Euroscepticism

Euroscepticism คือ แนวคิดของชาวยุโรปซึ่งต่อต้านสหภาพยุโรปหรือการรวมกลุ่มชาติยุโรป แนวคิดนี้แบ่งเป็นสองแบบ คือ แนวคิดที่ต่อต้านหลักการของสหภาพยุโรปและต้องการให้ประเทศออกจากสหภาพยุโรป (Hard euroscepticism) กับแนวคิดที่ไม่ได้ต้องการให้

การสร้างประเด็น - Argumentation Fundamentals

การนำเสนอประเด็น - Presenting an Argument

บทที่แล้วได้กล่าวถึงการสร้างประเด็นผ่านการหาความขัดแย้งของตัวการ (Actors) ในบทนี้เราจะมาดูโครงสร้างและวิธีการนำเสนอประเด็นโดยละเอียด ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ได้แก่ นำเสนอชื่อของประเด็น นำเสนอบริบทและปัญหาที่พบในสถานการณ์ปัจจุบัน นำเสนอการเปลี

บทนำโต้วาทีภาษาอังกฤษ - Introduction to English Debate

บทนำการโต้วาทีภาษาอังกฤษ - Introduction to English Debate

การโต้สาระวาทีที่เป็นภาษาอังกฤษคืออะไร? แตกต่างจากการโต้วาทีวาทศิลป์อย่างไร? การโต้วาที (Debate) มักจะเป็นที่คุ้นเคยและรู้จักในวงการการศึกษาไทยในลักษณะวาทศิลป์ หรือการต่อสู้ในเชิงลีลาสำนวนภาษา อย่างไรก็ตาม การโต้สาระวาทีภาษาอังกฤษ

การสร้างประเด็น - Argumentation Fundamentals

ข้อโต้แย้ง - Rebuttals

ข้อโต้แย้ง (Rebuttals) ในการโต้วาทีคือการให้เหตุผลถึงสาเหตุที่ประเด็นที่อีกฝ่ายได้นำเสนอมานั้นไม่สมเหตุสมผล โดยจะแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ไม่ควรทำ (Should not) - ในระดับนี้ผู้โต้วาที

พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics

บทนำการโต้วาทีรูปแบบรัฐสภาเอเชีย - Introduction to Asian Parliamentary Format

การโต้วาทีสามารถมีได้หลากหลายรูปแบบ แต่รูปแบบที่เป็นที่นิยมในการแข่งขันระดับประเทศในประเทศไทย ได้แก่ รูปแบบรัฐสภาเอเชีย (Asian Parliamentary Format) ที่พบได้ในการแข่งขัน EU in TH และ THSDC และ รูปแบบโรงเรียนสากล (World’

พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics

หน้าที่ของแต่ละฝ่าย - Team Roles

หน้าที่ของแต่ละฝ่าย ฝ่ายรัฐบาล สนับสนุนญัตติ (Support the Motion) ให้คำจำกัดความญัตติ (Define the terms in the Motion) ตระหนักถึงปัญหาในญัตติ (Recognize the problem in the motion) นำเสนอวิธีการแก้ไขปั

พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics

หน้าที่ของผู้พูด - Speaker Roles

นายกรัฐมนตรี - Prime Minister (ผู้พูดลำดับที่ 1 ของฝ่ายรัฐบาล) นายกรัฐมนตรีเป็นผู้พูดคนแรก ฉะนั้นหน้าที่หลักๆ คือการวางโครงสร้างเนื้อหาและทิศทางของการโต้วาทีในรอบนั้นๆว่าจะไปในทิศทางใด และ จะมีสาระครอบคลุมเรื่องใดบ้าง

พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics

วิธีการเป็นวิป - How to Whip

วิป (Whip) ไม่มีโครงสร้างการพูดที่ตายตัว อย่างไรก็ดีในโครงสร้างรัฐสภาเอเชียวิปของทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านจะไม่มีการเพิ่มเนื้อหาในหัวข้อใหม่ๆ แต่สามารถให้บทวิเคราะห์เพิ่มเติมในหัวข้อที่ได้

พื้นฐานการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย - AP Debate Basics

วิธีการเลือกญัตติในการแข่งขัน - How to Veto

ในการโต้วาทีแบบรัฐสภาเอเชีย แต่ละรอบจะมีการกำหนดหัวข้อ (Theme) มาให้หนึ่งหัวข้อ โดยแต่ละหัวข้อก็จะประกอบไปด้วย 3 ญัตติ ก่อนที่จะทราบหัวข้อ และ ญัตติ แต่และทีมจะรู้ว่าทีมตนนั้นได้

การเตรียมเคส - Case Setup

ภาพรวม: การเตรียมเคส - Case Setup Overview

ในบทนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ... ชนิดของญัตติ (Types of Motions) ญัตติแต่ละญัตติมีสิ่งที่เน้นต่างกัน บทความนี้จะอธิบายญัตติแต่ละชนิด และวิธีการเตรียมญัตติแต่ละแบบ คำจำกัดความ

การเตรียมเคส - Case Setup

ชนิดของญัตติ - Types of Motions

ญัตติในการโต้วาทีภาษาอังกฤษ หลักๆ มีสองชนิด คือ ญัตติที่เน้นหลักการ (Principle Motion) เป็นญัตติที่เน้นการให้เหตุผลโดยใช้หลักการ (principle) พิสูจน์ว่าควรหรือไม่ เป็นสิ

การเตรียมเคส - Case Setup

คำจำกัดความ - Definitions

คำจำกัดความ (Definition) ในการโต้วาทีคือความหมายของคำบางคำในญัตติสำหรับการโต้วาทีในแต่ละรอบ คำจำกัดความใช้ตีกรอบว่าในการโต้วาทีรอบนี้ต้องการโต้เรื่องอะไรบ้าง เพื่อให้การโต้วาทีไม่สะเปะสะปะ ดังนั้นผู้ให้คำจำกัดความไม่จำเป็นต้องให้

การเตรียมเคส - Case Setup

การคิดเคส - Case Brainstorming

การคิดเคสคิดได้หลายวิธี แต่วิธีหนึ่งที่พี่ๆ แวววากย์วาทีจะมานำเสนอ มี 4 ขั้นตอน คือ คิดถึงปัญหาในญัตติ (Think about the problem) หาตัวการและอธิบายตัวการ (Find and characterize actors) หาการขัดกั

การเตรียมเคส - Case Setup

แนวทางสร้างเคสฝ่ายค้าน - Running an Opposition Case

ทิศทางเคสของฝ่ายค้านที่ผู้นำฝ่ายค้านจะวางนั้นสามารถมีได้สามทิศทาง คือ ปฏิเสธปัญหา (Deny the Problem) หากมีปัญหาจริงวิธีการแก้ไขปัญหาของฝ่ายรัฐบาลจะทำให้ปัญหาแย่ลง (Exacerbates the Problem) และ ฝ่ายค้านจะมี